วันเสาร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่16 
วันที่ 25 
กันยายน  2555  

สิ่งที่ได้รับ 
-อาจารย์ให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้Tabletทั้งข้อดีและข้อจำกัด
ชั้นประถมศึกษา
ข้อดี  
-เด็กพกพาได้ง่ายหาข้อมูลในการเรียนการสอนได้เร็วขึ้น ทำให้เด็กได้ใช้เทคโนโลยี  ทำให้เด็กตื่นเต้น กับการเรียน 
ข้อจำกัด
-เด็กอาจจะถือหรือจับใช้ได้ยากลำบาก 
-เด็กไม่ได้การมีปฎิสัมพันธ์ในการพูดคุยกับครูและเพื่อน
-เด็กอาจจะไม่ดูแลและรักษาแท็ปเล็ต                                                                                               
ชั้นอนุบาล
ข้อดี

-เด็กได้ตื่นเต้นกับเทคโนโลยีและสื่อการเรียนการสอนที่ใหม่ๆและสื่อค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว
-หาสื่อภาพได้ง่ายทำให้ประหยัดในการทำสื่อสอน
ข้อจำกัด 
-เด็กต้องการที่จะเล่นอย่างอิสระและได้ลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เด็กเบื่อได้ง่าย

วิธีการทำให้เกิดเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ

การอธิบาย บรรยาย
การวิเคราะห์
ลงมือปฏิบัติจริง
ค้นคว้า การสรุปความคิด
การมอบหมายงาน
การแก้ปัญหา การทดลอง 

ค้นคว้าเพิ่มเติม 
วิดีโอ โททัศน์ครู : ของเล่นและของใช้
http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=3429
**สรุป**
การจัดประสบการณ์โดยการนำวัสดุอุปกรณ์ของเล่นของใช้ที่เป็นของจริงมาเป็นสื่อนั้นเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีคุณค่าที่สามารถทำให้เด็กได้เรียนรู้จากของจริงเด็กได้สัมผัสจริงได้เห็นของจริงเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกตุ รู้จัก แยกแยะ เปรียบเทียบรวมทั้งทำให้เด็กได้จดจำสิ่งต่างๆเด้กจะได้จำสิ่งต่างๆนำไปใช้เชื่อมโยงกับการใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งทำให้เด้กมีความสุขและสนกกับการเรียนปนเล่นและทั้งยังสามารถเอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆได้เป็นอย่างดี
*งานที่มอบหมาย 
ให้นักศึกษาทุกคนไปตรวจสอบและทำblogger ของตัวเองให้เรียบร้อย
โดยbloggerจะต้องมีส่วนประกอยดังนี้
- บทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-งานวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-ตัวอย่างเพลงเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-ข้อมูลทีเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่15
วันที่ 1
8 กันยายน  2555 
จัดกิจกรรมโรงเรียนสาธิตจันทรเกษม เวลา 14.00 น.
**ฐานระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง(กลุ่ม) **
สมาชิกในกลุ่ม
นางาสาวรางคณา  โพธิ์พา
นางสาวชนากานต์  บุญคำ
นางสาวทิพากร  พลเยี่ยม
นางสาววรรณพร   นิยม                                                                                                           
ภาพกิจกรรม

วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่14
วันที่ 11
 กันยายน  2555 

กิจกรรมที่ได้รับ**ฐานระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง(กลุ่ม) **
วัสดุ/ อุปกรณ์
1.แก้ว
2.น้ำเปล่า
3.สีผสมอาหาร
4.ตะเกียบ
5.เหยือกน้ำ
แนวคิด
ความถี่ในการสั่นของวัตถุเกี่ยวข้องกับมวลของวัตถุด้วย วัตถุที่มีมวลน้อยจะสั่นด้วยความถี่สูงกว่าวัตถุที่มีมวลมาก
วิธีการทดลอง
นำน้ำที่เตรียมไว้มาเทลงไปในแก้ว เทน้ำให้ต่างระดับกันทั้งแปดแก้วจากนั้นใช้ตะเกียบเคาะแก้วพร้อมกับฟังเสียง  แก้วแต่ล่ะใบจะมีเสียงต่างกัน เพราะระดับน้ำในแก้วไม่เท่ากันจึงทำให้เสียงที่ได้ยินต่างกัน
*งานที่มอบหมาย
- จัดกิจกรรม วัน อังคาร ที่ 18 กันยายน 2555
 - เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
- ทำป้ายแขวนคอเด็ก

- ใช้เวลาฐานละ 15 นาที

วันพุธที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่13
วันที่ 4
 กันยายน  2555 
สิ่งที่ได้รับ
 - อาจารย์ แนะนำเทคนิควิธีในการจัดป้ายนิเทศ การจัดทำบอร์ดดอกไม้ ที่นักศึกษานำมาส่งแต่ละกลุ่ม และร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดป้ายนิเทศ
- การวางแผนในการจัดป้ายนิเทศ การจัดไล่ดอก การจัดช่อดอกไม้ ต้องวางใบก่อนวางดอกไม้
- การวางใบ การจัดเข้ามุม
- ดอกไม้ต้องมี ใบเลี้ยง ใบรอง จะได้ดูเป็นธรรมชาติ
- การนำสิ่งที่เราได้เรียนรู้และอบรมนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
- การจัดต้องมีความทนทาน มีความแข็งแรง
- ในการจัด มีท้ง ดอกไม้  ขนาด ใหญ่ กลาง เล็ก จะทำให้ดูเป็นศิลปะมากขึ้


*ส่งงานงานที่มอบหมาย
-ส่งสมุดเล่มเล็ก
-บอร์ด                        
- ส่งการทดลองวิทยาศาสตร์
*งานที่มอบหมาย
-จัดกลุ่ม4คน ได้หัวข้อ ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง
 1.ตั้งชื่่อกิจกรรม อุปกรณ์
 2.แนวคิด วิธีการดำเนินงาน
 3.ป้ายชื่อให้เด็ก


ส่งบอร์ด
 
ผลงานบอร์ด
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12
วันที่ 2
8 สิงหาคม  2555 
**หมายเหตุ: ไม่มีการเรียนการสอน แต่ อาจารย์ให้แต่ล่ะกลุ่ม จัดบอร์ดส่
สมาชิกในกลุ่ม
นางาสาวรางคณา  โพธิ์พา 
นางสาวชนากานต์  บุญคำ 
นางสาววรรณพร   นิยม 


จัดบอร์ดดอกไม้กระดาษ
                                                                                                                                    จัดบอร์ด
ผลงาน
บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรมอบรม
วันที่ 26  สิงหาคม  2555  
 อบรมเชิงปฎิบัติการ
" การสร้างสื่อประยุกต์ "
วันที่ 25 - 26 สิงหาคม 2555
ณ หอประชุมศูนย์ศึกษาพัฒนาครู
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม 

                                                           ภาพกิจกรรม                                                                              
สอนวิธีการทำใบไม้
การจัดช่อดอกไม้
เข้าช่อดอกพุทธรักษา
                                                                         
บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรมอบรม
วันที่ 25 สิงหาคม  2555 

อบรมเชิงปฎิบัติการ
" การสร้างสื่อประยุกต์ "
วันที่ 25 - 26 สิงหาคม 2555
ณ หอประชุมศูนย์ศึกษาพัฒนาครู
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
  
       ภาพกิจกรรม              

 ดอกมะลิจากกระดาษ
            ดอกไม้จากกระดาษ                          
ดอกมะลิ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่11
วันที่ 21 สิงหาคม  2555


- แบ่งกลุม 4 กลุ่มใหญ่
-
อาจารย์แจกหนังสือกลุ่มละหนึ่งเล่ม
-
นักศึกษาแต่ละกลุ่มร่วมกันสนทนา หนังสือที่ได้มา ว่าได้หัวข้ออะไร ได้เรื่องอะไรบ้าง




วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่10
วันที่ 14 สิงหาคม  2555 
**หมายเหตุ: ไม่มีการเรียนการสอน
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่9
วันที่ 7 สิงหาม  2555
** หมายเหตุ : เนื่องจากอาจารย์ไปรับปริญญารุ่นพี่จึงมีการเรียนชดเชยใวันที่ 25 สิงหาคม 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่8
วันที่ 31 กรกฎาคม  2555

**หมายเหตุ: สอบกลางภาค
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่7
วันที่ 24 กรกฎาคม 2555 
สิ่งที่ได้รับ
สถานที่ > ไบเทค
             > ท้องฟ้าจำลอง
             >พิพิทธภัณฑ์   > วิทยาศาสตร์
                                      > หุ่นขี้ผึ้ง
                                      > เด็ก
                                      > สัตว์น้ำ
                                      > โอเชียล
                                      > สัตว์น้ำบางแสน
                                      > บึงฉวาก

ประโยชน์ > ประสบการณ์ตรง
                > เกิดความสนุกสนาน
                > เพลิดเพลิน
                > ตื่นเต้น
                > มีสาระ
                > ได้ความรู้
                > เกิดควมสงสัย
                > คำถาม
                > อยากรู้

ช้าง > การขยายพันธ์
       > ลักษณะ
       > ที่อยู่
       > อาหาร
       > ประโยชน์
       > ข้อควรระวัง
       > อาชีพ
       > การขยายพันธ์

1 . > ดึงประสบการณ์เดิมของเด็ก
ดึงประสบการณ์เดิมของเด็ก
จินตนาการ ประสบการณ์
การเชื่อมโยง
งานวาดรูปศิลปะ

2 . > เด็กๆอยากรู้เรื่องอะไรที่เกี่ยวกับช้าง
- ช้างเกิดมาจากไหน
- ทำไมช้างตัวใหญ่
- ช้างนอนตอนไหน
- ช้างร้องอย่างไร
- ช้างสืบพันธ์อย่างไร
- ช้างกินอะไรเป็นอาหาร


- อาจารย์ อธิบายเกี่ยวกับการเขียนแผน
- ร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กแต่ละวัย

** งานที่มอบหมาย
- เขียนแผนแบบการสอน
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่6
วันที่ 17 กรกฎาคม 2555
สิ่งที่ได้รับ
การเล่น
- การเรียนรู้ของเด็กเกิดจากการเล่น การเล่นทำให้เด็กเกิดประสบการณ์
- เด็กได้ลองผิดลองถูก เด็กเล่นก็จะเกิดทักษะ
- เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
- เครื่องมือที่มำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
- การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคือการเรียนรู้
- เปิดโอกาสให้เด็กมีประสบการณ์การเล่นของเล่นวิทยาศาสตร์

-ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ 
-เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
-การเล่นเป็นเครื่องมือในการทำให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้
-การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม คือ การเกิดการเรียนรู้
*งานมอบหมาย

เป็นงานกลุ่มทำเป็น Map ใส่กระดาษที่อาจารย์แจกมา หัวข้อ วิทยาศาสตร์น่ารู้



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่5
วันที่ 10 กรกฎาคม 2555

สื่่อวิทยาศาสตร์ที่ประดิษฐ์
1 ลวดมหัศจรรย์
อุปกรณ์
               - ลวด
               - ไม้
               -ไหมพรม
               - กาว
               - ลูกปัด
วิธีทำ 
              - นำไม้มาติดกาวเข้าด้วยกันเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
              - นำลูกปัดมาใส่ในลวดจากนั้นนำลวดไปมัดกับไม้ให้แน่นและแข็งแรง
              - นำไหมพรมมาพันติดกับไม้ให้หมดเพื่อความสวยงามและคงทน
วิธีการเล่น
              - นำไม้สลับกลับหัวไปมาเพื่อให้ลูกปัดในลวดได้วิ่งจากบนลงล่างในลวดที่ต่างกันระหว่างเส้น  ตรงและเส้นโค้งเพื่อให้เด็กสังเกตการเคลื่อนที่ของลูกปัด 

2 บูมเมอแรง
อุปกรณ์
              - กระดาษแข็ง
              - กรรไกร
              -  เทปกาว
              - สีเมจิก
วิธีทำ 
             -นำกระดาษมาตัดให้เป็นสี่เหลี่ยมจากนั้นนำมาติดกันด้วยเทปกาวให้มีลักษณะคล้ายกลางหัน
             - นำเทปกาวมาติดให้แน่นและแข็งแรง
             - ตกแต่งด้วยสีเมจิกเพื่อความสวยงามตามใจชอบ
วิธีการเล่น 
             - นำบูมเมอแรงไว้ระหว่างมือจากนั้นใช้นิ้วมือปัดออกไปสังเกตการเคลื่อที่ของบูมเมอแรง

                                                  ** นำเสนองานกลุ่ม(ของเล่นวิทยาศาสตร์)
                                                      - ลวดมหัศจรรย์
                                                      - บูมเมอแรง



   

                                                    ** ผลงานสื่อวิทยาศาสตร์


** งานที่มอบหมาย
ให้นำวิธีทำพร้อมรูปภาพขั้นตอนการทำมาส่ง  เพื่อที่จะได้รวบรวมเป็นเล่ม
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่4
วันที่ 3 กรกฎาคม 2555
สิ่งที่ได้รับคือ

 ดูวีดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์แสนสนุกสำหรับเด็ก

** ฝนเกิดจากอะไร        

 ฝนตกเกิดจาก น้ำโดนความร้อนของแสงจากดวงอาทิตย์หรือความร้อนอื่นใดที่ใช้ในการต้มน้ำ จนทำให้ระเหยกลายเป็นไอน้ำ ลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่อไอน้ำมากขึ้นจะรวมตัวกันเป็นละอองน้ำเล็กๆ ปริมาณของละอองน้ำยิ่งมากขึ้นเรื่อยๆก็จะรวมตัวกันเป็นเมฆฝน พอมากเข้าอากาศไม่สามารถพยุงละอองน้ำเหล่านี้ต่อไปได้ น้ำก็จะหล่นลงมายังผืนโลกให้เราเรียกขานกันว่าฝนตก

** การระเหย
คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นก๊าซ โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆได้รับพลังงานหรือความร้อน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนสถานะเป็น ไอน้ำ
** การระเหิด
คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของแข็ง กลายเป็นก๊าซ โดยไม่ผ่านสถานะการเป็นของเหลว ได้แก่น้ำแข็งแห้ง เปลี่ยนสถานะเป็น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
** การควบแน่น
 คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากก๊าซ กลายเป็นของเหลว โดยมักเกิดเมื่อก๊าซนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ ไอน้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำ
** การแข็งตัว
 คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นของแข็ง โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำแข็ง โดยของแข็งนั้น สามารถเปลี่ยนสถานะกลับเป็นของเหลวได้ โดยการได้รับพลังงานหรือความร้อน
** การตกผลึก
 คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นของแข็ง โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำแข็ง แต่โดยทั่วไปแล้ว ตกผลึกนั้นนิยมใช้ กับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทางทางเคมี เสียมากกว่า เพราะโดยทั่วไปใช้กับสารประกอบหรือวัตถุ ที่ไม่สามารถหลอมเหลว หรือ ละลาย กลับเป็นของเหลวได้อีก
** การหลอมเหลว หรือการละลาย
 คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของแข็ง กลายเป็นของเหลว โดยมักเกิดเมื่อของแข็งนั้นๆ ได้รับความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำแข็ง เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำ



** งานที่มอบหมาย
  1. เมื่อได้หน่วยการเรียนรู้จากโรงเรียนอนุบาลสาธิตจันทรเกษม  แล้วให้ทำเป็น 
       Mind Map  ว่าเราจะสอนอะไร   สิ่งที่จะต้องมีคือ  ภาพ  การทดลอง

      และยกตัวอย่าง (งานกลุ่ม)
  2. ทำสื่อวิทยาศาสตร์ที่เด้กสามารถเล่นเองได้ในมุมประสบการณ์ (จับคู่ 2 คน)
      - อุปกรณ์จะต้องเป็นเศษวัสดุเหลือใช้  
      - ถ่ายรูปเป็นขั้นตอน
  3. หาวิธีการทำของเล่นวิทยาศาสตร์มา 1 อย่าง   เพื่อที่จะนำมาสอนเด็ก (จับคู่ 2 คน)
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่3
วันที่ 26 มิถุนายน 2555
สิ่งที่ได้รับคือ
จัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
  -อาจารย์ยกตัวอย่างแมวเหมียวให้ฟัง(เด็กเกิดการเรียนรู้)
   1.พัฒนาการทางสติปัญญา
   2.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  2.1 กระบวนการพื้นฐานเบื้องต้น
         -สังเกต(สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก)
         -การวัด (เรื่องปริมาณ)
         -การจำแนกประเภท
         -การหาความสัมพันธ์มิติกับเวลา
         -การสื่อความหมาย
         -การคำนวนพยากรณ์
   2.2กระบวนการแบบผสม
        -ตั้งสมมติฐาน
        -กำหนดเชิงปฏิบัติการณ์
        -กำหนดและควบคุมตัวแปร
        -ทดลอง
        -ตีความและสรุป
  3.การใช้สื่อ
        -เลือกให้เหมาะสม
        -เตรียมสื่อ
        -ใช้
        -ประเมิน
  4.วิธีการจัด
1.แบบเป็นทางการ
    -รูปแบบการสอนแบบต่างๆเช่น โครงงานวิทยาศาสตร์
    -มีจุดมุ่งหมาย
2.แบบไม่เป็นทางการ
    -มุมวิทยาศาสตร์
    -สภาพแวดล้อมที่ครูเตรียม
*งานที่มอบหมาย
1.ทำmid map กลุ่มละ4-5 คน เลือกหัวข้อ1หน่วย เพื่อไปทำแผนการสอน