วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่2
วันที่ 19 มิถุนายน 2555
สิ่งที่ได้รับคือ
รู้อะไร
เรียนรู้
อยากรู้
ผู้รู้
ความรู้
รอบรู้
ใฝ่รู้
น่ารู้
ควรรู้
สู่รู
ภาษาหมายถึงอะไร
เครื่องมือของการรับรู้
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรา เช่น หนัง พัดลมฯลฯ
การจัดการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เด็กปฐมวัย > พัฒนาการ
                   > สติปัญญา
                   >ความคิด
                   > ภาษา
                   >คิดเชิงเหตุผล
                   > คณิต+วิทย์
การจัดประสบการณ์ > หลักการจัดปรธสบการณ์
                                 > ทฤษฎี
                                 > กระบวนการคิดที่สร้างสรรค์
                                 >เทคนิควิธี
                                 > สื่อ/จัดสภาพแวดล้อม
                                 > วิธีการประเมิณผล
วิธีการเรียนรู้ของเด็ก  > ผ่านระบบประสาทสัมผัสทั้ง5
วิทยาศาสตร์ > ทักษะทางวิทยาศาสตร์
                     > สาระทางวิทยาศาสตร์
                     > ทักษะกระบวนการพื้นฐาน
**งานที่มอบหมาย
จับกลุ่มทำงาน3คน ทำงานกลุ่มใส่A4 ส่งสัปดาห์หน้า
งานเดี่ยวสือบค้นข้อมูล พํฒนาการที่เป็นวิทยาศาสตร์ เด็กอายุ 3ขวบ (blogger)
**ส่งงาน
โลกของเด็กวัย 3 ขวบ ประกอบด้วยของที่มองเห็นจับต้องได้  ฉะนั้น การสื่อสารกับเด็กวัยนี้จึงยังไม่ควรใช้สิ่งที่เป็นนามธรรมกับเด็ก เช่น คำว่า  ประชาธิปไตย  ความมีความคุณค่า ความเสียสละ ความรักชาติ ความมั่นคง ด้านความจำเด็กวัยนี้จะจำสิ่งที่เขาชอบได้นานประมาณ 3  วัน
เด็กวัยนี้มีความอยากรู้อยากเห็น  ชอบถาม  การได้รับคำตอบจะทำให้ความสงสัยกระจ่างขึ้น  
แต่ถ้าไม่มีผู้ตอบคำถามหรือไม่ได้รับคำตอบที่ถูกต้องแล้ว  ความอยากรู้อยากเห็นจะลดน้อยลง 
ทำให้ประสบการณ์ของเด็กถูกจำกัดลง  กลายเป็นเด็กที่ด้อยกว่าเด็กคนอื่นในวัยเดียวกันเด็กเล็กจะไม่สามารถแยกแยะสิ่งที่รับรู้ออกเป็นส่วนต่างๆ ได้ ส่วนใหญ่จะรับรู้โครงสร้างทั้งหมดเด็กช่วงอายุ  2-6  ปี  ตามทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียร์เจท์  (Piaget)  ระบุว่าเด็กจะยังไม่สามารถคิดหาเหตุผลได้  แต่ไม่ได้หมายความว่าเด็กวัยนี้จะไม่สามารถคิดหาเหตุผลได้เลย  เด็กคิดได้แต่คิดแบบผิดๆ  ถูกๆ อยู่  และยังไม่สามารถสร้างมโนภาพได้
สรุป
 เด็กอายุ3ขวบ พัฒนาการด้านสติปัญญาที่เป็นวิทยาศาสตร์ คือเด็กจะเริ่มรับรู้สิ่งที่อยู่รอบๆตัว เช่น เด็กจับต้องสิ่งของต่างๆ เริ่มรู้จักสนจัยในภาษา ชอบสงสัย ซึ่งเหล่านี้จะเป็นตัวเเปรที่ทำให้เด็กได้พัฒนาทักษะทางด้านสติปํญญา
บันทึกครั้งที่1
 วันที่ 12 มิถุนายน 25555 55


 ทำ blogger วิทยาศาสตร์
 ลิงค์ มาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ของ  สสวท.

 ลิงค์ รายชื่อ เพื่อนในบล็อค
 ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ( เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน )

มาตรฐานวิทยาศาสตร์ ของ  สสวท.
http://www3.ipst.ac.th/physics/index.php?option=com_content&view=article&id=54&Itemid=58